
ประวัติภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นแห่งแรกของประเทศไทยที่ทำการเปิดสอนหลักสูตร พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร เป็นสาขาวิชาที่มุ่งเน้นที่จะผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในงานอาชีพอุตสาหกรรมเกษตรควบคู่ไปกับการตลาด เพื่อที่จะให้บัณฑิตที่จบไปเป็นนักพัฒนาผลิตภัณฑ์ ที่มีความรู้ความสามารถดีเยี่ยมในการที่จะคิดค้นพัฒนา และปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ทาง อุตสาหกรรมเกษตรทั้งที่เป็นอาหาร กึ่งอาหาร และมิใช่อาหาร ให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค
ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ เป็นภาควิชาหนึ่งในคณะอุตสาหกรรมเกษตร จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2523 ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 4 เริ่มเปิดหลักสูตรแรกเป็นหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ปริญญาตรี) และมีการเปิดหลักสูตรต่างๆ ตามมาดังนี้
- ปี พ.ศ.2530 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร)
- ปี พ.ศ.2534 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต (การประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร)
- ปี พ.ศ.2537 หลักสูตรโครงการเร่งรัดการผลิตบัณฑิตสาขาขาดแคลน (ปริญญาตรี)
- ปี พ.ศ.2542 หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร)
- ปี พ.ศ.2543 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร)
- ปี พ.ศ.2545 หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร)
ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถทำงานในภาคเอกชน โรงงานอุตสาหกรรม และภาครัฐบาล โดยเป็นนักพัฒนาผลิตภัณฑ์ นักวิจัยและพัฒนา พนักงานควบคุมคุณภาพ ผู้ควบคุมการผลิต หรือเป็นตัวแทนผู้บริการเทคนิคต่างๆ นอกจากนี้ยังสามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาโทสาขาต่างๆ เช่น ทางด้านอุตสาหกรรมเกษตร ทางด้านการบริหารธุรกิจ เป็นต้น
ปณิธาน
ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ จะผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพได้มาตรฐานการศึกษา มีความเป็นเลิศทางวิชาการ มีความสามารถทางวิชาชีพตรงตามความต้องการของอุตสาหกรรมเกษตร มีคุณธรรม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
หลักสูตร
ปริญญาตรี
โครงสร้างหลักสูตร
วิทยาศาสตรบัณฑิต (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร)
แผนการศึกษาสำหรับโครงการสหกิจศึกษา
คำอธิบายรายวิชา
หลักสูตร
ปริญญาโท
โครงสร้างหลักสูตร
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) แผน ก แบบ ก 1
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) แผน ก แบบ ก 2
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) แผน ข
คำอธิบายรายวิชา
หลักสูตร
ปริญญาเอก
โครงสร้างหลักสูตร
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) แบบ 2.1
คำอธิบายรายวิชา
คณาจารย์
รศ.ดร. นันทวัน เทอดไทย (หัวหน้าภาควิชา)
สายใน 5510
M.Appl.Sc. (Food Science and Technology), University of Western, Sydney
วท.ม. (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Superheated steam treatment
Process modeling and optimization
Baking technology
Gluten free products
ผศ.ดร. วลัยรัตน์ จันทรปานนท์ (รองหัวหน้าภาควิชา)
+66-2562-5013
M.S.(Food Science and Technology), University of Georgia
วท.บ. (เกียรตินิยม) (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Food safety
Food sanitation (GMP & HACCP)
Traditional fermented food product development
รศ.ดร. ปิติพร ฤทธิเรืองเดช (รองหัวหน้าภาควิชา)
วท.ม. (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ. (เกียรตินิยม) (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Statistical modeling and multivariate analysis techniques in food product development
ผศ.ดร. วรรณสวัสดิ์ รัฐพิทักษ์สันติ (รองหัวหน้าภาควิชา)
M.S. (Food Science), University of Missouri
วท.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thermal processing of low-acid foods
Ultra-super heated steam technology for toxin destruction and product quality improvement
Utilization of rice flour and legume flour in value-added products
Application of agricultural by-products as alternative ingredients in food system
ผศ.ดร. วิษฐิดา จันทราพรชัย
สายใน 5518
วท.ม. (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ. (เทคโนโลยีทางอาหารและชีวภาพ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Optical properties of food and non-food emulsions
Development of natural colorant from local produces
Sensory evaluation
ผศ.ดร. เทพกัญญา หาญศีลวัต
วท.ม. (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ. (วิศวกรรมแปรรูปอาหาร) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
Emulsion based delivery system
Encapsulation of bioactive ingredients
รศ.ดร. อนุวัตร แจ้งชัด
วท.ม.(พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ.(พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประกาศนียบัตร (การจัดการและการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยไมโครคอมพิวเตอร์) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Development and characterization of edible film and coating
Development of fruit leather/vegetable leather
Modelling in product development
Prolonging shelf life of fruits
รศ.ดร. กมลวรรณ แจ้งชัด
สายใน 5507
วท.ม. (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Development of rice flour-based products as functional foods
Development of snack product and Thai dessert for export
รศ.ดร. เสาวณีย์ เลิศวรสิริกุล
สายใน 5512
M.S. (Industrial Engineering and Operations Research), University of California, Berkeley
วท.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทำนายคุณภาพของสินค้าเกษตรภายใต้สภาวะการผลิตที่ต่างกัน (Quality prediction of agricultural products under different processing conditions)
การวางแผนการผลิต และการจัดการโลจิสติกส์อาหารแบบอัจฉริยะ (Intelligent food production and logistics with soft computing: fuzzy logic, ANN, and genetic algorithm)
ดร.ศิวาพร โอเจริญ
วท.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Ph.D. (Food Science), Ehime University
Non-enzymatic browning reaction for food application
Egg science and technology
ผศ.ดร. ทานตะวัน พิรักษ์
สายใน 5509
วท.บ. (อาหารและโภชนาการ) มหาวิทยาลัยมหิดล
Meat protein and its interaction with hydrocolloids and other natural extracts.
Applications of chitosan and protein hydrolysates in food, especially meat products
Interactions of chitosan and other hydrocolloids or natural extracts in food and meat products, and its antioxidant and antimicrobial activity
Protein-polysaccharide interaction and complexation
รศ.ดร. รุ่งนภา พงศ์สวัสดิ์มานิต
สายใน 5508
M.S. (Food Process Engineering), สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย
วท.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (พัฒนาผลิตภัณฑ์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การใช้ไฮโดรคอลลอยด์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์
การประเมินอายุการการเก็บของผลิตภัณฑ์ / Snack technology
การประเมินอายุการเก็บ
Rice and starch technology
ผศ.ดร.นพรัตน์ ปราบสงบ
M.Sc. (Food Science), Kagawa University, Japan
Ph.D. (Colloid Science), Ehime University, Japan
Development of functional ingredients from natural sources
Development of lipid based food products
รศ.ดร. หทัยรัตน์ ริมคีรี
สายใน 5515
M.Tech. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (Product Development), Massey University
วท.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Non–food product development
Cosmetic product development
Consumer research for agro-Industrial product development
ผศ.ดร. อุศมา สุนทรนฤรังษี
วท.ม. (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ. (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Human perception and Neurophysiology
Product Development
Consumer Behavior, Behavior Economics, and Psychographic Model
รศ.ดร. สุนทรี สุวรรณสิชณน์
สายใน 5517
วท.ม. (เทคโนโลยีทางอาหาร) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.บ. (เทคโนโลยีทางอาหาร) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Substitution of wheat flour in Bakery products
Inhibition of lipid oxidation in pre-cooked meat products
รศ.ดร. ธงชัย สุวรรณสิชณน์
สายใน 5514
วท.ม. (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ. (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Sensory evaluation
Non destructive measurement using Near Infrared Spectroscopy (NIRS)
Consumer test
รศ.ดร.วิชัย หฤทัยธนาสันติ์ (ผู้ทรงคุณวุฒิภาควิชาฯ )
กส.บ. (วิทยาศาสตร์การอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
M.Sc. (Food Technology) Mysore University, India
รศ.ดร.สมบัติ ขอทวีวัฒนา (ผู้ทรงคุณวุฒิภาควิชาฯ)
วท.บ.(เคมี) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Sugar technology
Drying and processing development
รศ.ดร. เพ็ญขวัญ ชมปรีดา (ผู้ทรงคุณวุฒิภาควิชาฯ )
M.S. (Food Science and Nutrition), University of Missouri
วท.บ. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล
Sensory evaluation and consumer study
Product Development from rice, tuber and legumes
Functional foods product development
เจ้าหน้าที่











